ปฏิญญาลันตา การขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

1. การประมงยั่งยืน (ปฏิญญาลันตา )
Driving the Lanta Bay Declaration towards Sustainable Development
(Blue & Green Island)


เป้าหมาย : 

  • ให้การทำประมงอยู่คู่กับชุมชนเเละทำได้ตลอดทั้งปี 
  • สร้างกลไกการตลาด การทำประมงพื้นบ้านอย่างยั่งยืน 
  • อนุรักา์พันธ์สัตวืน้ำเเละฟื้นฟูพันธ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจที่หายากเพื่อความสมบูรณ์ทางทรัพยากรทางทะเลให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
  • เพิ่มโอกาสในการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชน 
  • เพิ่มมูลค่าสัตว์น้ำ

วิธีการ : 

  1. สร้างข้อตกลงระหว่างชุมชนเเละอุทยาน
  2. ทำธนาคารสัตว์น้ำในชุมชนจัดให้มีตลาดอาหารทะเลจากชุมชน
  3. ขยายพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
  4. ส่งเสริมการแปรรูปสัวต์น้ำ
  5. สร้างข้อตกลงในเรื่องการทำประมงในพื้นที่สัตว์น้ำใช้ขยายพันธุ์ 
  6. สนับสนุนให้มีการทำประมงเชิงการท่องเที่ยว 

ภาคีเครือข่าย : 

  • ทุกองค์การภายใต้ปฏิญญาลันตา

ประเด็น : ประมงยั่งยืน

เป้าหมาย : การบริหารจัดการทรัพยากรโดยชุมชน (อนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน)

วิธีการ

  1. จัดเวทีสร้างความเข้าใจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ และส่งเสริมการรวมกลุ่มของชาวบ้าน
  2. สนับสนุนและส่งเสริมให้มีกิจกรรมของชุมชน เช่น ซั่งปลา ป่าชายเลนโดยชุมชน
  3. จัดทำเขตอนุรักษ์ สัตว์น้ำ หญ้าทะเล ฯลฯ
  4. จัดทำแผนที่ขอบเขตพื้นที่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

ประเด็น : พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน (พัฒนาพื้นที่สีเขียว)

เป้าหมาย : ครัวอาหารของเกาะลันตา/ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

วิธีการ

  1. ส่งเสริมให้ชุมชนปลูกพืชที่ใช้ประโยชน์รายวันระดับครัวเรือน (พริก ขมิ้น ตะไคร้ ข่า มะนาว พริกไทย ฯลฯ)
  2. ส่งเสริมให้มีการปลูกผักปลอดสารเคมีและเป็นความต้องการของผู้ประกอบการโรงแรม ร้านอาหาร
  3. ส่งเสริมให้มีแผนการปลูกพืชตามระยะเก็บเกี่ยว แบบหมุนเวียน (รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน)
  4. ส่งเสริมให้มีการรวมตัวทำการเกษตรแปลงใหญ่ (กลุ่มเกษตร)

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ 

  1. อปท. (อบจ. อบต. ทต.)
  2. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่
  3. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง (เกษตร/พัฒนาการอำเภอ/ประมง/อุทยานฯ/ทช./เจ้าท่า/ป่าไม้ ฯลฯ)
  4. สถาบันการศึกษา (โรงเรียน วิทยาลัยฯ มหาวิทยาลัย)
  5. ภาคเอกชน (โรงแรม รีสอร์ท ร้านอาหาร ประชาสังคม NGOs มูลนิธิ สมาคม ฯลฯ)

ตำบลเกาะกลาง

ประเด็น : ประมงยั่งยืน

เป้าหมาย : อนุรักษ์ ฟื้นฟู แหล่งผลิตอาหารโดยชุมชน

วิธีการ

  1. จัดทำแผนที่และแนวเขตอนุรักษ์ทรัพยากร
  2. สร้างข้อตกลงในการใช้ประโยชน์ร่วมกัน
  3. จัดทำซั้งบ้านปลา
  4. ส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เช่น เลี้ยงปลาในกะซัง เลี้ยงปูดำในพื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น
  5. จัดให้มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ชุมชนละ 2 ครั้ง/ ปี
  6. จัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรโดยชุมชน

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. กลุ่มประมงท้องถิ่น
  2. อปท. (อบจ./ อบต./ ทต./ กำนัน/ ผู้ใหญ่บ้าน)
  3. ประมงจังหวัด/ อำเภอ
  4. ทช.
  5. องค์กรพัฒนาเอกชน
  6. ผู้นำศาสนา
  7. สถาบันการศึกษา
  8. รพ.สต.
  9. จนท.ตำรวจ, ใบไม้เขียว

ประเด็น : การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

เป้าหมาย : อนุรักษ์ทรัพยากรและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน

วิธีการ : 1. อนุรักษ์พื้นที่สมบูรณ์ ฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม

  1. สร้างข้อตกลง กติการ่วม
  2. จัดตั้งคณะกรรมการชุมชนในการเฝ้าระวัง
  3. จัดทำธนาคารสัตว์น้ำ
  4. จัดทำแนวเขตอนุรักษ์สัตว์น้ำ หญ้าทะเล/ เขตห้ามจับปลาในฤดูวางไข่
  5. หยุดจับ หยุดซื้อ หยุดขาย สัตว์น้ำวัยอ่อน

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. กลุ่มประมงท้องถิ่น
  2. อปท. (อบจ./ อบต./ ทต./ กำนัน/ ผู้ใหญ่บ้าน)
  3. ประมงจังหวัด/ อำเภอ
  4. ทช.
  5. องค์กรพัฒนาเอกชน
  6. ผู้นำศาสนา
  7. สถาบันการศึกษา
  8. รพ.สต.
  9. จนท.ตำรวจ, ใบไม้เขียว

ตำบลคลองยาง 

1.ประเด็น : การจัดทำบ้านปลา 

เป้าหมาย : เพิ่มประชากรสัตว์น้ำในพื้นที่คลองยาง แหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ และเพิ่มรายได้

วิธีการ : 

1. ประชาคมชี้แจ้งการทำบ้านปลาถึงผลดี ผลเสีย และโอกาส

  1. ปฏิบัติและระบุพื้นที่เป้าหมาย

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. ประมง
  2. อบต. และ อบจ.
  3. ป่าชายเลน
  4. ปราชญ์ชุมชน

ประเด็น : การพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวประมง

  • ปัญหาการต่อทะเบียนเรือ
  • ท่าจอดเรือ
  • ส่งเสริมอุปกรณ์ประมง

เป้าหมาย : ประกอบอาชีพแบบสบายใจ มั่นคงในอาชีพประมง

มีการทำประมงแบบยั่งยืน

ชาวประมงอยู่ดี กินดี ในวิถีที่เขาเลือกเอง

ชาวบ้านมีท่าเทียบเรือที่ปลอดภัย

วิธีการ : 1.ส่งเสริมประมงพื้นบ้าน

             2.อบรมความรู้ด้านกฎหมาย

             3.ส่งเสริมให้มีการต่อทะเบียนเรือทุกขนาด

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. ประมงอำเภอ และจังหวัด
  2. เจ้าท่า
  3. อบต. และอบจ.
  4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  5. ป่าสงวนแห่งชาติ

ประเด็น : การส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงปลากะชัง และบ่อดิน

เป้าหมาย :  เป็นแหล่งอาหารของชุมชนนำไปสู่รายได้ของเกษตรกร

  • อนาคตจะส่งปลาคลองยางเข้าโรงแรม
  • กำหนดราคกลางของชุมชนเองได้

วิธีการ : 1. ความรู้ในการเพาะเลี้ยง

  1. ความรู้เกี่ยวกับการชดเชยค่าเสียหาย

3.เน้นการดำเนินการแบบกลุ่ม

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ  –

 

ประเด็น : เขตรักษาพันธุ์สัตว์น้ำ (ปูดำ สัตว์น้ำอื่นๆ) 

เป้าหมาย : 

– มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำชุมชน

–  7 พื้นที่ 7 หมู่บ้าน

วิธีการ : 

  1. ประชุมสร้างความเข้าใจ
  2. กำหนดระเบียบกติกา

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. ภาครัฐ ภาคเอกชน
  2. ประมง ศูนย์ปราบปรามประมง (ใบไม้เขียว)
  3. ทช.

 

ประเด็น :  เวทีสร้างความร่วมมือการประกอบอาชีพ/ทับตลิ่ง ปิดอ่าว

เป้าหมาย : 

– ให้เกษตรกรทำเคยมีความสบายใจ

–  ส่งเสริมนโยบายการขาย

วิธีการ : เวทีสร้างความเข้าใจทุกระดับ (ชุมชน ตำบล อำเภอ)

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. ประมง
  2. ประมง ศูนย์ปราบปรามประมง (ใบไม้เขียว)
  3. ทช.

ประเด็น : การส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงปลากะชัง และบ่อดิน

เป้าหมาย :  เป็นแหล่งอาหารของชุมชนนำไปสู่รายได้ของเกษตรกร

  • อนาคตจะส่งปลาคลองยางเข้าโรงแรม
  • กำหนดราคกลางของชุมชนเองได้

วิธีการ : 1. ความรู้ในการเพาะเลี้ยง

  1. ความรู้เกี่ยวกับการชดเชยค่าเสียหาย

3.เน้นการดำเนินการแบบกลุ่ม

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ  –

 

ประเด็น : ตลาดสินค้าชุมชนสู่โรงแรมในเกาะลันตา(ปลาผัก)ร้านอาหาร

เป้าหมาย : เพื่อส่งเสริมอาชีพและรายได้ให้แก่คนในชุมชน

วิธีการ :

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ :

  1. โรงแรม รีสอร์ท
  2. ภาคท่องเที่ยว
  3. ภาคเอกชน

ประเด็น : การพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวประมง

  • ปัญหาการต่อทะเบียนเรือ
  • ท่าจอดเรือ
  • ส่งเสริมอุปกรณ์ประมง

เป้าหมาย : ประกอบอาชีพแบบสบายใจ มั่นคงในอาชีพประมง

มีการทำประมงแบบยั่งยืน

ชาวประมงอยู่ดี กินดี ในวิถีที่เขาเลือกเอง

ชาวบ้านมีท่าเทียบเรือที่ปลอดภัย

วิธีการ : 1.ส่งเสริมประมงพื้นบ้าน

             2.อบรมความรู้ด้านกฎหมาย

             3.ส่งเสริมให้มีการต่อทะเบียนเรือทุกขนาด

หุ้นส่วนพัฒนา/ ภาคีความร่วมมือ

  1. ประมงอำเภอ และจังหวัด
  2. เจ้าท่า
  3. อบต. และอบจ.
  4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  5. ป่าสงวนแห่งชาติ

 

Issue: Sustainable Fisheries

Goal: Community-managed resource management (conservation and sustainable use)

Methods:

  1. Organize forums to build understanding among stakeholders in the area and promote community group formation.
  2. Support and promote community activities such as community-managed fish habitats and mangrove forests.
  3. Establish conservation zones for marine life, seagrass, etc.
  4. Create maps outlining marine and coastal resource boundaries.

 

Issue: Community Economic Development (Green Area Development)

Goal: Lanta Island’s food kitchen / Reducing expenses, increasing income

Methods:

  1. Encourage the community to grow daily-use plants at the household level (chili, turmeric, lemongrass, galangal, lime, pepper, etc.)
  2. Promote the cultivation of chemical-free vegetables in demand by hotel and restaurant operators.
  3. Encourage the implementation of rotational planting plans (daily, weekly, monthly harvest cycles).
  4. Promote the formation of large-scale agricultural groups (agricultural groups).

 

Development Partners/Collaborators:

  1. Local administrative organizations (PAO, SAO, municipality)
  2. Local farmer groups
  3. Relevant government agencies (agriculture, district development, fisheries, national parks, marine resources, maritime, forestry, etc.)
  4. Educational institutions (schools, colleges, universities)
  5. Private sector (hotels, resorts, restaurants, civil society, NGOs, foundations, associations, etc.)



Facebook
Pinterest
Reddit
Threads

สถานที่จัดงาน

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

ร่วมสนับสนุนกิจกรรม